ชื่อโครงการวิจัย/ชื่อเรื่อง |
การผลิตกรดเลวูลินิคจากใบอ้อยโดยใช้กระบวนการไบโอรีไฟน์เนอรี่แบบบูรณาการและการประเมินวัฏจักรชีวิต |
ชื่อโครงการวิจัย/ชื่อเรื่อง ภาษาอังกฤษ |
Levulinic acid production from sugarcane leaf via integrated biorefinery process and its life cycle assessment |
ชื่อนักวิจัย/ชื่อผู้แต่ง |
กมลวัฒน์ นาคะสรรค์ |
ชื่อนักวิจัย/ชื่อผู้แต่ง ภาษาอังกฤษ |
Kamonwat Nakason |
เจ้าของผลงานร่วม |
บุณยฤทธิ์ ปัญญาภิญโญผล ,
วรพจน์ กนกกันฑพงษ์ ,
สัญชัย คูบูรณ์ |
คำสำคัญ |
กรดเลวูลินิค;ใบอ้อย;สารเคมีตัวกลาง;การประเมินวัฏจักรชีวิต;โมเดลเศรษฐกิจใหม่;Levulinic acid;Sugarcane leaf;Intermediate chemicals;Life cycle assessment;BCG model |
หน่วยงาน |
มหาวิทยาลัยมหิดล |
ปีที่เผยแพร่ |
2566 |
คำอธิบาย |
การนำใบอ้อยมาทำไฮโดรเทอร์มอลที่อุณหภูมิ 175 °C เวลา 30 นาที ในสารละลายกรดซัลฟิวริกความเข้มข้น 0.4 โมลาร์ จะได้ผลิตภัณฑ์กรดเลวูลินิคเท่ากับ 20.95 เปอร์เซนต์โดยน้ำหนักของใบอ้อยแห้ง ซึ่งการประเมินความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์และวัฏจักรชีวิตรพบว่า การผลิตกรดเลวูลินิคจากใบอ้อยมีความคุ้มการทางเศรษฐศาสตร์และกรดเลวูลินิคที่ผลิตได้มีค่าศักยภาพในการทําให้เกิดโลกร้อนต่ำกว่ากรดเลวูลินิคทางการค้า และการนำใบอ้อยมาผลิตกรดเลวูลินิคถือเป็นแนวทางการจัดการใบอ้อยที่จะช่วยลดการเกิดภาวะโลกร้อนจากการเผาใบอ้อยได้ |
กลุ่มการนำไปใช้ประโยชน์ |
ด้านวิชาการ |
สาขาการวิจัย |
-
วิศวกรรมและเทคโนโลยี
-
วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม
-
พลังงานและเชื้อเพลิง
|