ชื่อโครงการวิจัย/ชื่อเรื่อง |
การศึกษาประสิทธิภาพของไขมันในช่องท้องและระดับอะดิโพคายน์เพื่อใช้ในการทำนายความเสี่ยงภาวะคาร์ดิโอเมตาบอลิกในกลุ่มบุคลากรของกองทัพเรือไทย |
ชื่อโครงการวิจัย/ชื่อเรื่อง ภาษาอังกฤษ |
Efficiency of visceral fat and adipokine levels in predicting cardiometabolic risk in Thai Navy adults |
ชื่อนักวิจัย/ชื่อผู้แต่ง |
ปวีณา ปัญจธารากุล และผศ.ดร. นริสา เก่งตรง บดีรัฐ |
ชื่อนักวิจัย/ชื่อผู้แต่ง ภาษาอังกฤษ |
Paweena Panjatharakul and Asst. Prof Dr. Narisa Kengtrong Bordeerat |
คำสำคัญ |
ไขมันในช่องท้อง, ภาวะคาร์ดิโอเมตาบอลิก, ดัชนีมวลกาย |
หน่วยงาน |
บัณฑิตศึกษา คณะสหเวชศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ |
ปีที่เผยแพร่ |
2565 |
คำอธิบาย |
ภาวะคาร์ดิโอเมแทบอลิก(CMD)คือกลุ่มอาการที่มีระบบเมแทบอลิซึมในร่างกายที่ผิดปกติร่วมกับการมีความเสี่ยงในการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด โดยสัมพันธ์กับระดับไขมันในช่องท้อง(VF)ที่สูงขึ้น งานวิจัยนี้ศึกษาแบบ case control study ในกลุ่มบุคลากรกองทัพเรือมีBMIอยู่ในช่วง18.5-24.9 kg/m2โดยใช้เกณฑ์ CMDS พบค่าเฉลี่ยVFในกลุ่มผู้มีภาวะCMDสูงกว่าในกลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ระดับVFสูงขึ้นมีความสัมพันธ์เชิงบวกกับGlucose,CHOL,LDL-C และจากการทดสอบความสัมพันธ์เชิงเส้นพบว่ากลุ่มผู้มีระดับVFและไตรกลีเซอไรด์สูง จะมีความเสี่ยงในการเกิดภาวะCMDมากกว่าคนปกติ 1.3และ 1.7 เท่าตามลำดับ HDL-C ที่สูงจะเป็นปัจจัยป้องกันการเกิดภาวะCMDได้ |
ข้อมูลเพิ่มเติม |
https://he01.tci-thaijo.org/index.php/jmt-amtt/article/view/253294
|
กลุ่มการนำไปใช้ประโยชน์ |
ด้านวิชาการ |
สาขาการวิจัย |
-
วิทยาศาสตร์การแพทย์และสุขภาพ
-
อื่นๆ : โรคไม่ติดต่อ
|